Mechanics
ในระบบจะมีชิ้นงาน (ไม้สี่เหลี่ยมทรงกระบอก) 2 ชิ้นเพื่อให้แขนหุ่นยนต์หยิบไปยังตำแหน่งต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้สาธิตใน Virtual Reality และแขนหุ่นยนต์จะมีลักษณะคล้ายแขนของมนุษย์ สามารถเคลื่อนไหวไปยังตำแหน่งต่าง ๆ และหยิบชิ้นงานได้ดังรูปที่ 1
|
รูปที่ 1 แขนหุ่นยนต์ที่สามารถหยิบชิ้นงานได้[1, 2] |
Electronics
ใช้อุปกรณ์อุปกรณ์เกี่ยวกับความจริงเสมือนเพื่อให้ผู้ใช้สามารถปฏิสัมพันธ์กับวัตถุเสมือนและ AI ใน Virtual Reality ได้ดังรูปที่ 2
|
รูปที่ 2 การปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้กับธนูใน Virtual Reality[3] |
Programming
Virtual Reality
สร้างโลกเสมือนโดยมีอุปกรณ์เกี่ยวกับความจริงเสมือนเพื่อให้ผู้ใช้สามารถปฏิสัมพันธ์กับวัตถุเสมือนและ AI ในโลกเสมือนได้ดังรูปที่ 2 โดยผู้ใช้สามารถสาธิตการวางชิ้นงานได้ด้วยท่าทางธรรมชาติ
Q-Learning
ใช้ภาษา C# ในการเขียนโปรแกรมเพื่อประยกุต์ใช้ Reinforcement Learning[4] เพื่อให้ AI เรียนรู้กระบวนการควบคุมแขนหุ่นยนต์เพื่อหยิบชิ้นงานโดยใช้สมการดังรูปที่ 3
|
รูปที่ 3 การคำนวณ Value[4] |
My Script
หลังจากที่ AI เรียนรู้เสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งข้อมูลเพื่อการควบคุมแขนหุ่นยนต์จาก LAB 2 ไปยัง LAB 3 โดยการเชื่อมต่อของ Computer ระหว่าง LAB 2 กับ LAB 3 จะใช้วิธีการเชื่อมต่อผ่านระบบ Wireless LAN ดังรูปที่ 4
|
รูปที่ 4 การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องเข้าด้วยกัน |
Reference
[1] : Cybernetic arm,
http://cyanak.deviantart.com/art/Cybernetic-arm-322557309
[2] : Companion Cube,
http://www.elginpk.com/worsley1112_4/bogert/3.htm
[3] : The Lab,
https://www.forbes.com/sites/toddkenreck/2016/04/06/this-htc-vive-trailer-perfectly-expresses-how-amazing-virtual-reality-is/#405e09de1ea1
[4] : Q-Learning,
https://en.wikipedia.org/wiki/Q-learning
No comments:
Post a Comment